1. ฝึกระเบียบวินัย
ฝึกระเบียบวินัย เพื่อเป็นทั ก ษ ะการควบคุมตนเอง และยับยั้ ง ชั่ งใจให้แก่ลูก นับเป็นพื้นฐานต่อการทนต่อสิ่ง ยั่ วยุต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ซึ่งสามารถทำได้ ตั้งแต่เล็กๆ อาทิ การตื่นนอน
และเข้านอน รับประทานอ าหา ร การเก็บของเล่น ให้เป็นเวลา
2. ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเอง
ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเอง เพื่อเป็นพื้นฐานทัก ษ ะอื่นต่อไป เพราะการที่เด็ก สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และล ดการพึ่งพาคนอื่น จะทำให้เด็ก เกิดความมั่นใจในตัวเอง ลดความกั ง ว ล
และพร้อมที่จะเรียนรู้ทักษะอื่นๆ ในชีวิตประจำวัน
3. การพาลูกพบคนหลากหลาย
การพาลูกพบคนหลากหล า ย นับเป็นการฝึกให้ลูก มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น และเข้าใจสังคมมากขึ้น คือทำให้เขาเห็นว่า…และความคิด ซึ่งสิ่งที่แตกต่างเหล่านี้ไม่ได้แปลว่า ผิ ด
เสมอไปการพาลูกออกเดินทางท่องเที่ยว ได้เห็นวิถีชีวิตผู้คนที่แตกต่างพร้อมกับคำชี้แนะ ที่เหมาะสม จะทำให้ลูกเข้าใจ ความเป็นไปของโลกใบนี้ได้ดีขึ้น
4. ฝึกลูกช่วยงานบ้าน
ฝึกลูกช่วยงานบ้าน เริ่มได้ตั้งแต่เล็ก โดยส่วนใหญ่ เด็กวัย 2 ขวบ เริ่มฟังและเข้าใจคำสั่งง่ายๆ ดังนั้น เราควรฝึกลูกให้ช่วยงานบ้าน ขั้นพื้นฐาน เช่น นำเสื้อผ้าที่สวมแล้วไปใส่ตะกร้าเป็นต้น
การให้ลูกช่วยงานบ้าน โดยเริ่มจากสิ่งที่เขาค ว รต้องรับ ผิ ดชอบเอง ลูกก็จะเรียนรู้ว่าสิ่งต่างๆ ที่ตนทำ มีผลกระทบต่อคนรอบข้างอย่ า งไรนับเป็นจุดเริ่มต้น ของการเอาใจเขาใส่ใจเรา
5. สร้างแรงบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า
สร้างแ ร งบันดาลใจ ด้วยเรื่องเล่า สำหรับเด็กเล็ก โลกของเขา ยังไม่กว้ า งใหญ่มากนัก การเล่าเรื่องราวต่างๆ จากนิทาน หรือเกร็ดประวัติศา ส ตร์อย่ า งง่ายๆเกี่ยวกับบุคคล ที่ทำ
เพื่อผู้อื่นจะช่วยทำให้ลูกเข้าใจ เรื่องการช่วยเหลือกันในสังคมได้ดีขึ้น คนเป็นพ่อแม่ อาจถามลูกว่า หากเกิดเหตุก า รณ์ อย่างในนิทานขึ้นกับลูก ลูกจะทำอย่างไร ลองฟังคำตอบ
ของลูก แล้วชื่นชมหรือ ตั้งคำถามเพื่อชี้แนะแนวทาง ที่ถูกหลีกเ ลี่ ย ง ที่จะวิจา ร ณ์และตัดสินว่า.. คำตอบของลูกถูกหรือ ผิ ด เพื่อให้ลูกได้ฝึกคิดด้วยตนเอง โดยมีพ่อแม่ เป็นผู้ชี้นำ
แนวทางที่เหมาะสม
6. สอนเรื่องอารม ณ์ต่างๆ
สอนเรื่องอาร ม ณ์ต่างๆ พ่อแม่มักให้ความสำคัญ กับการสอนลูก ให้เป็นเลิศ ในด้านวิชาการ สอนเรื่องมาร ย า ทกฎระเบียบ แต่กลับลืมเรื่องการรับมือกับอา ร มณ์ตั้งแต่ลูกยังเล็ก
ดังนั้นพ่อแม่ควรเริ่มต้น สอนให้ลูกรู้จักอาร ม ณ์ต่างๆ ของตนด้วยการเอ่ยชื่อ อา ร ม ณ์นั้นๆ อาทิเมื่อลูกร้ อ ง ไห้ ที่ไม่ได้ ของเล่น อาจบอกลูกว่า แม่รู้ว่าลูกกำลังเ สี ยใจ ที่ไม่ได้ของเล่น
หรือเมื่อลูกโก รธ ที่ถูกแ ย่ งขนมต้องบอกว่าลูกกำลังโก ร ธใช่ไหม แต่แม่อย า กให้ลูก หายใจลึกๆ ใจเย็นๆ การสอนเช่นนี้ จะช่วยทำให้ลูก เรียนรู้ที่จะจัดการกับอารมณ์ของตน เมื่อโตขึ้น
และไม่นำอารมณ์ของตนเอง มาเป็นข้ออ้าง ในการทำร้ า ยคนอื่น
7. สอนลูกให้รู้จักแ ก้ปัญหา
สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญ ห า บ่อยครั้งที่ลูกทำผิ ดพลาด พ่อแม่หลายคน จะใช้วิธีตำห นิ หรือดุลูก เพื่อไม่ให้ลูกทำผิ ด อีก ซึ่งจะทำให้เด็กคิดว่า การทำผิ ดเป็นเรื่องใหญ่ และกลัว ที่จะทำผิด
หรือจะปกปิดความคิดของตนเอง โดยการโกหกดังนั้น พ่อแม่ควรเริ่มต้นในการให้อ ภั ยลูก แล้วชวนลูกแก้ไข้ปั ญ ห า หลังจากที่เกิดข้อผิ ด พลาด อาทิเด็กวิ่งแล้วทำน้ำหก พ่อแม่ควรฝึกให้
เด็กรับผิดชอบในสิ่งที่ทำ คือเช็ดน้ำ และเก็บแก้วให้เป็นที่ หลังจากนั้นชวนให้ลูก คิดว่าครั้งหน้าสามารถร ะ วังอย่า ง ไร ให้ไม่เกิด เหตุการณ์แบบนี้อีก นอกจากเรื่องที่แม่ต้องสอนลูกแล้ว
พ่อแม่ผู้ปกคร อ งคนในครอบครัว ก็ต้องเป็นต้นแบบ หรือแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก เพราะการเห็นแบบอย่างที่ดี จะทำให้เด็กสามารถจดจำการทำดีได้มากกว่า การใช้เพียงคำพูด การเลี้ยงลูก
ต้องใช้ความอดทนความเข้าใจเป็นสำคัญนะคะ กว่าที่ลูกจะรู้เรื่อง และทำตามในสิ่งดีๆ ก็ต้องใช้เวลาฝึกฝน ปฏิบัติเป็นประจำ หากพ่อแม่หมั่นสอน สิ่งสำคัญที่จำเป็น ต้องสอนลูก ลูกก็จะเติบโต
เป็นผู้ใหญ่ที่ดีอย่ า งแน่นอน
ขอบคุณที่มา : t h e a s i a n p a r e n t