Home ข้อคิด วิธีออมเงิน “แบบ 3 ตะกร้า” เพื่อให้บรรลุเป้าหมายไว้ใช้หลังเกษียณ

วิธีออมเงิน “แบบ 3 ตะกร้า” เพื่อให้บรรลุเป้าหมายไว้ใช้หลังเกษียณ

21 second read
0
0
480

มีคำถามเข้ามาว่า “ควรจัดแบ่งเงินออมยังไงดี?” เพราะหลายคนเอาเงินออมไปกองไว้ในที่เดียวกัน แล้วก็หยิบใช้ และออมเพิ่มในที่เดียวกัน สุดท้ายเงินออมเลยไม่เติบโตสักทีวันนี้เลยอยาก

พูดถึงการ “แบ่ง” หรือ “จัดสรร” เงินออม สำหรับผู้ที่เริ่มออมเงินได้และมีเงินกับกันครับที่จริงก่อนจะไปถึงเรื่องการจัดสรรเงินออม ก็ต้องชื่นชมก่อนครับ เพราะเอาเข้าจริงคนที่จะเก็บออมเงินได้

มีเงินออมให้บริหาร ในบ้านเราก็อาจเรียกได้ว่า “ครึ่งต่อครึ่ง” เลยคือ ไม่มีเงินออมครึ่งนึง (รีบทำให้มีนะ) และอีกครึ่งคือมีเงินออม แต่ก็บริหารจัดการไม่ถูกต้อง เอาเงินออมทั้งหมดที่มีไปออมไว้

ในที่เดียวกัน พอจะล งทุ น ก็ยกโขยงไปล งทุ นพร้อมกันทั้งหมด ที่ถูกต้องเราควรจัดสรรเงินออมที่มีออกจากกัน โดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจจะใช้เงินก้อนนั้นในอนาคตโดยส่วนตัวผมมักจะ

แนะนำคนที่มาเรียนด้วย ให้แบ่งเงินออมเบื้องต้น ออกเป็นสามตะกร้า ดังนี้ (มีมากกว่านี้ได้นะ ถ้ามีวัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น เก็บเงินซื้อของ เก็บเงินเรียนต่อ ฯลฯ อันนี้แล้วแต่ละบุคคลเลยครับ)

1. ตะกร้าเงินสำรองเผื่อฉุกเฉิน (Emergency Basket)

ตะกร้านี้เป็นแหล่งเก็บเงินสำรองเผื่อไว้สำหรับเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน ที่อาจจะส่งผลกระทบกับการเงินของเรา เช่น ตกงาน ไม่ได้รับค่าจ้าง เ จ็ บป่ ว ยหรือ อุ บั ติเ ห ตุ ฯลฯ เป็นตะกร้าเงินที่มี

เป้าหมายเพื่อป้องกันความเสี่ยงปกป้องสภาพคล่องของการเงินเราขนาดที่เหมาะสมของตะกร้านี้ คือ 6-12 เท่าของรายจ่ายรวมต่อเดือน โดยควรเก็บออมในทรัพย์สินที่มีสภาพคล่องดี รั ก ษ า

มูลค่าได้ไม่ผันผวนมาก เช่นเงินฝาก สลากออมทรัพย์ กองทุนรวมตลาดเงิน กองทุนรวมตราสารหนี้ หรือทองคำ

2. ตะกร้าเงินเกษียณรวย (Retirement Basket)

ตะกร้านี้เป็นแหล่งเก็บสะสมเงินไว้สำหรับใช้จ่ายยามเกษียณจากการทำงาน เน้นทยอยสะสมและล ง ทุ นในเครื่องมือกลุ่มตราสารการเงิน ใช้วิธีการที่ไม่ซับซ้อน ล ง ทุ นแบบระยะยาว

เป้าหมายคือ มีกินใช้หลังเกษียณสบายๆ 20-25 ปีเครื่องมือที่ช่วยเก็บเงินสำหรับตะกร้านี้ เช่น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ , กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) , กองทุนรวมต่างๆ

(ตราสารหนี้ อสังหาริมทรัพย์ หุ้น), กองทุนรวมที่มีสิทธิประโยชน์ทางภาษี (RMF และ SSF), ป ร ะกั นชีวิ ต ประกันบำนาญ หุ้นสหกรณ์ หุ้นสามัญ เป็นต้นที่ดีควรเริ่มต้นวางแผนเงินเกษียณนี้

ตั้งแต่วันแรกที่เริ่มต้นทำงาน ควบคู่ไปกับการวางแผนชำระหนี้ให้หมดก่อนเกษียณ เริ่มต้นล ง ทุ นทีละน้อยสร้างประสบการณ์ ที่สำคัญ! เงินก้อนนี้ห้ามแบ่งให้ใครเด็ดขาด เพราะมันคือเงินที่

เราต้องเก็บไว้กินใช้ในวันที่รายได้ลดลง

3. ตะกร้าเงินเกษียณเร็ว (Money Freedom Basket)

ตะกร้านี้เป็นแหล่งเงินสะมที่จะนำไปล งทุ นในทรัพย์สินที่สร้างกระแสเงินสด (Passive Income) เพื่อสร้างความมั่งคั่งอย่างรวดเร็ว ทำให้หมดกังวลเรื่องการเงินได้ก่อนเกษียณอายุจากการ

ทำงานเป้าหมายของตะกร้านี้คือ รายได้จากทรัพย์สิน (Passive Income) มากกว่ารายจ่ายรวมต่อเดือน (Total Expenses) เครื่องมือที่ช่วยของตะกร้าเกษียณเร็วก็คือ ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์

ทรัพย์สินทางปัญญา ที่ให้รายได้เราในรูปแบบ ด อ กเ บี้ ย เงินปันผล ค่าเช่า และค่าลิขสิทธิ์ (หรือปัจจุบันจะมาในรูปแบบค่าโฆษณาก็ได้)ทั้งหมดนี้คือ ตะกร้าเงินพื้นฐานที่ควรจะจัดแบ่ง

เงินออมไว้ เพื่อให้บรรลุ เ ป้ าห ม า ย อย่างไรก็ดี แต่ละคนมีความต้องการแต่ปัจเจก แตกต่างกันไปในแต่ละคน ดังนั้นหากจะมีตะกร้าเงินอื่นๆ เพิ่มเติมจากนี้ หรือแบ่งเงินแตกต่างไปจากนี้

ก็ไม่ถือว่าผิดกติกา ยังไงลองวางแผนจัดการเงินออมของตัวเองดูนะครับ หวังว่าแนวทางข้างต้นจะเป็นประโยชน์กับทุกคนครับ

ขอบคุณที่มา : t h e m o n e y c o a c h t h

Load More Related Articles
Load More By FahFah FahFah
Load More In ข้อคิด

Check Also

คนที่มีความกตัญญู ต่อพ่อแม่ ทำไมมักมีสิ่งที่มองไม่เห็น คอยช่วยเสมอ

พ่อแม่ของเรา มีพระคุณเหนือกว่าขุนเขา เหนือกว่าสิ่งอื่นใดเสมอ แม้จะเอาแบกไว้ไหล่ซ้าย ขวา ทั…